🌿สิรีรุกขชาติ แหล่งเรียนรู้สมุนไพรเพื่อทุกคน
20 เมษายน 2024
🌿สิรีพาร์คยินดีต้อนรับองค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย🌿
23 เมษายน 2024
🌿สิรีรุกขชาติ แหล่งเรียนรู้สมุนไพรเพื่อทุกคน
20 เมษายน 2024
🌿สิรีพาร์คยินดีต้อนรับองค์การบริหารส่วนตำบลท่าทราย🌿
23 เมษายน 2024

✨อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ ขอขอบคุณกองวิเทศน์สัมพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่เลือกใช้สถานที่ภายในอุทยานฯ เพื่อจัดงาน Mahidol University – IAPP Delegates

🗓วันที่ 22 เมษายน 2567 กองวิเทศน์สัมพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล นำโดย รองศาสตราจารย์ ดร. นภเรณู สัจจรักษ์ ธีระฐิติ รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร และคณะ ดำเนินการจัดงาน Mahidol University – IAPP Delegates โดยเลือกใช้ห้องกระจกริมน้ำ (ห้อง Workshop) ในการรองรับแขกเข้าร่วมงาน ซึ่งมีจำนวน 40 ท่านค่ะ
—————
📍หมายเหตุ : ภาพที่ปรากฎนำไปใช้เพื่อการสื่อสารและประชาสัมพันธ์เท่านั้น หากไม่ประสงค์ให้นำภาพไปใช้โปรดแจ้งผู้ดูแลระบบ
—————
📲 สำหรับท่านใดที่สนใจกิจกรรม สามารถจองเข้าชมเป็นหมู่คณะล่วงหน้าได้ที่ลิงก์ https://sr.mahidol.ac.th หรือ ติดต่อสอบถามรายละเอียด โทร. 06 5986 3283 หรือ 06 2217 2665 ในวันและเวลาราชการ
🎨🌻🐿️🔭สำหรับกิจกรรม Workshop อาทิ การชมห้องนิทรรศการด้านภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การชมสวนสมุนไพร การทำ Workshop ยาดมสมุนไพร, อาหารจากสมุนไพร, สีสกัดจากธรรมชาติ, การทำดอกไม้แห้ง (แบบนักพฤกษศาสตร์), การขยายพันธุ์พืช, การทำปุ๋ย, การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นต้น
————-
🌳🎬 อุทยานธรรมชาติวิทยาสิรีรุกขชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ให้บริการเช่าสถานที่สำหรับทำกิจกรรมต่างๆ ภายในอุทยาน ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่สวนสมุนไพร กว่า 140 ไร่ , ศาลาอเนกประสงค์ , ห้องประชุมขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ (ขนาด 10 คน – 200 คน) พร้อมรองรับการเข้าชม การทำกิจกรรม Workshops และใช้งานในโอกาสที่แตกต่างกันไป
————-
🕕 เปิดให้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 06.00-18.00 น.
– มีลานจอดรถด้านหน้าอุทยานฯ
– มีรถประจำทางผ่านหน้ามหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา
————-
📸 อัตราค่าเข้าชมอุทยานฯ (ไม่รวมห้องนิทรรศการ)
– นศ./ บุคลากร ของมหาวิทยาลัยมหิดล เข้าชมฟรี✨
– บุคคลทั่วไป 🙋
🌱 อายุ 3 – 59 ปี คนละ 50 บาท
🌱 นักเรียน/นักศึกษา/บุคลากรทางการศึกษา คนละ 30 บาท
(โปรดแสดงบัตรนักเรียน/นักศึกษา/บุคลากรทางการศึกษา)
🌱 ผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 3 ปี หรืออายุ 60 ปีขึ้นไปเข้าชมฟรี✨
ทั้งนี้ ค่าเข้าชมดังกล่าว เป็นการสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุ์พืชสมุนไพรไทย ซึ่งอุทยานฯ เป็นแหล่งรวบรวมต้นสมุนไพรที่มากที่สุดในประเทศไทย มากกว่า 900 ชนิด 🙏🌿✨
———–